
11/07/2025
【串門子 • 擺白話:泰緬邊境女性的生命遷徙】系列首場活動,將在這週日進行,歡迎身在泰北的朋友一起走進清萊省帕黨村,吃吃瓜子,聽聽故事,欣賞泰國視覺藝術家楊建素與多位瑤族女性社群共同創作的刺繡作品😎😎
▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔
【串門子 • 擺白話:泰緬邊境女性的生命遷徙】系列活動
【場次一|Sao Lang:串門 • 串語 】
日期:2025.07.13(星期日)
時間:14:00 - 16:00(台灣)/ 13:00 - 15:00(泰國)
地點:泰國清萊省帕黨村綜合大廳 (104)
分享人:楊建素
★ 活動現場以泰語、瑤語、雲南話進行
►活動介紹
「Sao Lang」在瑤語中意指在村裡閒步遊走,順道串門子走進熟識人家裡聊聊天,不需要特別的目的也不必事先安排。通常只要看到有人來訪,主人就會把小凳子擺到屋前角落,再準備一些瓜子或小點心,好讓來串門子的朋友一邊嗑嗑瓜子一邊閒聊。
7月13日,邀請你一起來「Sao Lang」,像村裡的午後那樣坐在門前的凳子上,泡一壺茶、嗑點瓜子,聽聽那些未曾被記錄的記憶,這些故事在遷徙與落腳之間靜靜流動,是女性的聲音,是她們在邊境之地生根、重新說出自己名字的片段。
這場活動的靈感來自楊建素的生命經歷與記憶,她成長於泰北邊界,一個多元族群與文化交織而成的地方。對她而言,在那裡「身分」從來不是單一敘述,而是一種不斷對話、不斷追問的過程,也正因如此,她開始思索「我是誰?」「我屬於哪裡?」
當天的現場也會準備來自村子裡的家常小點心,包括瑤族、雲南、傣族等族群的在地風味小吃,讓大家在輕鬆自在的氛圍中,一邊吃一邊聊,讓對話自然展開,讓故事緩緩流動。
►社區共創作品計劃——【Dorngx Jauv —— 沿著針線走回來,她們說起那一段路】
這是一項由楊建素與帕黨村的瑤族女性社群共同創作的刺繡計畫。九幅刺繡作品,九段記憶與身體的延伸,她們一針一線透過重新詮釋的瑤族傳統刺繡圖案,將作品幻化成為了一張張記憶地圖,描繪著在邊緣地帶中仍持續書寫的女性故事。
每一根線都是一條連結過去與當下的敘事軸線,每一道針腳都是一次對遷徙經驗存在的確認;是一段段從未停歇的流動歷程。這樣的經歷並不是過去式,直到今日移動仍在發生,人類依然被迫離散、遷徙、尋找新的落腳處,無論因為戰爭、動盪,或社會與政治變遷,這些針線所繡下的是那些至今還在路上的故事。
本場活動中,楊建素將邀請大家一起參與第十幅刺繡的誕生。這塊布將會跟著她繼續移動,從清萊到清邁,再從泰國飄洋過海抵達台灣,像一張未完的地圖,等待更多人加入,在布上縫下自己的片段與思緒。
►分享人介紹——楊建素 Malin Jairakthongtheaw
具瑤族血統的創作者,出生於泰北清萊省的邊境地區,其成長歷程深受多元族群與文化交織的環境所影響,使其創作深深植根於邊境、少數民族、信仰、傳統儀式與在地文化。她長期關注族群認同、精神信仰、身分流動與地方知識之間的複雜關係,並透過繪畫、陶藝、刺繡與裝置藝術等形式,訴說那些常被主流社會忽視的記憶、信念與群體的存在。她的作品連結著個人經驗與集體文化、過去與現在、邊界與中心,映照出來自邊緣的聲音。
主辦單位|大大樹音樂圖像
合作單位|湄公河文化中心( Mekong Cultural Hub)、Art & Society Hubs Network-Asia、帕黨村
▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔
【Knocking Doors, Telling Stories: The life journeys of women migrating across the Thai-Myanmar border】
【Event 1|Sao Lang - Swing By for Chit-Chat】
Date: 2025.07.13(Sunday)
Time: 14:00 - 16:00(Taiwan)/ 13:00 - 15:00(Thailand)
Venue: Phatang Muti-Purpose Building (104), Doi Phatang, Chiang Rai, Thailand
Speaker: Malin Jairakthongtheaw
★ This event will be conducted in Thai, Yao, and Yunnanese
► Event Introduction
Sao Lang is a Yao term that loosely translates to "strolling through the village" — a casual visit to a neighbor's home, without any particular purpose and never requiring a formal invitation. Whenever someone drops by, the host brings out a small stool to place by the door, sets out some sunflower seeds or snacks, and then the small talk begins.
On July 13, we invite you to join us for Sao Lang—to sit on a doorstep stool like those in the villages, brew a pot of tea, crack some sunflower seeds, and listen to memories that have yet to be written down—stories that drift quietly between movement and settling, told in women's voices. These are fragments of lives rooted at the margins, of women who name themselves again, anew.
This gathering is inspired by the life and memories of Malin Jairakthongtheaw, who grew up along the Thai-Myanmar-Laos border, a place where many cultures and identities overlap. For her, identity was never a single story, but a constant inner dialogue, a continuous reflection: Who am I? Where do I belong?
At the event, we’ll also share homemade snacks from the village—local tastes from the Yao, Yunnanese, and Tai communities. Over food and conversation, stories begin to surface naturally, in their own time.
►A Joint Creative Project:Dorngx Jauv — Along the Threads, They Recall their Journey
This is a collaborative embroidery project between Malin Jairakthongtheaw and a community of Yao women in Phatang Village. Nine embroidered pieces, each a thread-bound extension of memory and body. Through reimagined motifs of traditional Yao embroidery, the women stitch their lived experiences into memory maps—charting stories of women who continue to write their lives from the margins.
Each strand is a narrative line that ties the past to the present. Each stitch affirms an experience of movement, of migration. And this isn’t just history—it's ongoing. Even now, people are displaced and seeking new ground, whether by war, upheaval, or political shifts. These threads carry the stories of those still on the road today.
At this gathering, Malin will invite you to help bring the tenth embroidery piece to life. This cloth will continue its journey with her—from Chiang Rai to Chiang Mai, and across the sea to Taiwan. Like an unfinished map, it waits for others to join in—adding their own thoughts, fragments, and threads.
► Speaker Introduction ——Malin Jairakthongtheaw
An artist of Yao heritage, Malin was born in the borderlands of Chiang Rai Province in northern Thailand. Raised in a culturally diverse environment shaped by intersecting ethnicities and traditions, her artistic practice is deeply rooted in borderland experiences, minority identity, local beliefs, rituals, and vernacular knowledge.
Her work explores the complex relationships between ethnic identity, spirituality, migration, and indigenous knowledge systems. Through painting, ceramics, embroidery, and installation, she gives form to memories, beliefs, and communal voices often overlooked by dominant mainstream narratives.
Bridging personal experience and collective culture, past and present, center and periphery, her artworks carry the voices that rise from the margins.
Organized by Trees Music & Art
In Collaboration with Mekong Cultural Hub (MCH), Art & Society Hubs Network-Asia, Doi Phatang
▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔▔
【Knocking Doors, Telling Stories:The life journeys of women migrating across the Thai-Myanmar border 】
【Event 1|Sao Lang (ซาวหลัง) 】
วันที่:วันอาทิตย์ที่ 13 ก.ค. 2568
เวลา:13:00 - 15:00 น.
สถานที่: อาคารเอนกประสงค์บ้านผาตั้ง (104) อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
ผู้จัดกิจกรรม: มาลิน ใจรักท่องเที่ยว
★ดำเนินกิจกรรมเป็นภาษาไทย เมี่ยน และยูนนาน
► แนะนำกิจกรรม
“Sao Lang” (อ่านว่า ซาวหลัง) ในภาษาเมี่ยน หมายถึงการเดินเที่ยวเล่น แวะทักทายบ้านคนรู้จัก นั่งพูดคุยโดยไม่ต้องมีธุระใดเป็นพิเศษ ตามธรรมเนียมท้องถิ่นเจ้าบ้านมักจะยกตั่งนั่งออกมาวางที่มุมประจำ พร้อมของทานเล่นหรือเมล็ดทานตะวันให้แขกได้ทานเล่นไปพลางระหว่างบทสนทนา
เราจึงอยากชวนทุกคนไปซาวหลังด้วยกันในวันที่ 13 ก.ค. ร่วมวงพูดคุยและฟังเรื่องเล่าที่ไม่ถูกบันทึกในกระแสหลักของผู้หญิงพลัดถิ่นฐานในขอบเขตชายแดนจังหวัดเชียงราย
แรงบันดาลใจของกิจกรรมนี้เชื่อมโยงกับความทรงจำของมาลิน ผู้เติบโตท่ามกลางบริบทของชุมชนชาติพันธุ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่ชายขอบของประเทศไทย การตั้งคำถามกับรากเหง้าและอัตลักษณ์ที่แท้จริงของตัวเอง
ภายในงานจะมีของว่างพื้นถิ่นในชุมชนทั้งเมี่ยน จีนยูนนาน ไทลื้อ ให้ทุกคนได้ชิมพลางพูดคุย แล้วปล่อยให้เรื่องเล่าและบทสนทนาเคลื่อนไหลไปตามจังหวะของผู้คนและเวลา
►ผลงานปักร่วมกับสตรีเมี่ยนในชุมชน : “Dorngx Jauv : Along the Threads, They Recall their Journey”
ผลงานปัก 9 ชิ้นที่ร่วมสร้างสรรค์ระหว่างมาลินและสตรีเมี่ยนในชุมชนบ้านผาตั้ง สำรวจอัตลักษณและความทรงจำถ่ายทอดผ่านฝีเข็มและร่างกายด้วยงานปักอิ้วเมี่ยนที่ถูกตีความใหม่ โดยผ้าปักทั้ง 9 ผืนเปรียบเสมือนแผนที่บันทึกเส้นทางของความทรงจำ แผนที่ที่ไม่ได้บอกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์หากแต่เป็นตำแหน่งของเรื่องราว ความรู้สึก และประสบการณ์ในชีวิตของผู้หญิงแต่ละคนซึ่งยังคงเล่าเรื่องของตัวเองจากพื้นที่ชายขอบ
เส้นด้ายแต่ละเส้นคือเส้นเรื่องที่เชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน ทุกฝีเข็มคือการยืนยันถึงการดำรงอยู่ของความทรงจำ การเดินทางและการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานที่ยังคงดำเนินอยู่ โดยเฉพาะในบริบทโลกปัจจุบันที่ผู้คนจำนวนมากยังคงถูกผลักให้ต้องอพยพ ลี้ภัย ละทิ้งถิ่นที่อยู่เดิมเพื่อแสวงหาจุดพักพิงใหม่ ไม่ว่าจะด้วยเหตุแห่งสงครามหรือความไม่มั่นคงทางสังคมและการเมือง เส้นด้ายและฝีเข็มบนผืนผ้านี้จึงเปรียบเสมือนเรื่องราวของผู้คนที่ยังคงอยู่ในระหว่างทาง
ในกิจกรรม นี้มาลินจะชวนทุกคนมาร่วมปักผืนที่ 10 ด้วยกัน ผ้าผืนนี้จะเดินทางต่อไปพร้อมกับเธอ จากเชียงรายสู่เชียงใหม่และบินข้ามน้ำข้ามทะเลจากไทยไปยังไต้หวัน ราวกับแผนที่ที่ยังเขียนไม่เสร็จที่รอให้ผู้คนมาร่วมกันถักทอและเล่าเรื่องราวของตัวเองลงบนผืนผ้า
► ประวัติผู้จัดกิจกรรม
มาลิน ใจรักท่องเที่ยว
ศิลปินเชื้อสายเมี่ยน เกิดและเติบโตท่ามกลางบริบทของชุมชนชาติพันธุ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่ขายขอบของจังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ผลงานของเธอสัมพันธ์กับวิถีชีวิต พิธีกรรม และวัฒนธรรม สำรวจและตั้งคำถามต่อความสัมพันธ์ซับซ้อนระหว่างอัตลักษณ์ ความเชื่อ จิตวิญญาณ และการเปลี่ยนผ่านของตัวตน ถ่ายทอดผ่านภาพวาด เครื่องปั้นดินเผา งานปัก และศิลปะจัดวาง
โดยเธอมักเชื่อมโยงประสบการณ์ส่วนตัวเข้ากับวัฒนธรรมร่วมของกลุ่มชน อดีตกับปัจจุบัน ชายขอบกับศูนย์กลาง สะท้อนเสียง ความทรงจำ และประสบการณ์ของผู้คนที่มักไม่ปรากฏในกระแสหลัก
จัดโดย trees music & art
ร่วมกับ Mekong Cultural Hub (MCH), Art & Society Hubs Network-Asia, หมู่บ้านผาตั้ง
#泰國 #帕黨 #瑤族 #泰緬邊境 #刺繡